เมื่อเรื่องราวของศิลปะวัฒนธรรมภาคใต้อย่าง”มโนราห์” ถูกถ่ายทอดเป็นสารคดีในรูปแบบวิทยาศาสตร์ กับแขกรับเชิญสุดพิเศษ ผศ.ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์ ศิลปินแห่งชาติประจำปี 2564 ในฐานะผู้มุ่งมั่นสืบสานศิลปะและวัฒนธรรมการรำมโนราห์และถ่ายทอดศาสตร์ “โนรา”สู่เยาวชนรุ่นหลัง ถูกถ่ายทอด โดย อ.ดร.ปรียาลักษณ์ โคหนองบัว สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
โดย ศูนย์การเรียนรู้เพื่อบูรณาการวิทยาศาสตร์ กับ ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น SCI ACL (Science Art Culture and Local Wisdom Learning Center) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
   

 
 
 

วิถีชีวิตการเลี้ยงควายปลักทะเลน้อย มรดกไทยสู่มรดกโลก  

เรื่องราวของความภาคภูมิใจที่มรดกไทยอย่าง       

“วิถีชีวิตการเลี้ยงควายปลักทะเลน้อย”

สู่การยกย่องเป็นมรดกโลก

แล้ววิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกันอย่างไร

กับวิถีชีวิตการเลี้ยงควายปลักทะเลน้อย

ถ่ายทอดเรื่องราวโดย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนพล อยู่เย็น

สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์

กับสารคดีที่นำภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะวัฒนธรรมภาคใต้ นำมาเชื่อมโยงกับวิทยาศาสตร์

โดย ศูนย์การเรียนรู้เพื่อบูรณาการวิทยาศาสตร์ กับ ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น

SCI ACL (Science Art Culture and Local Wisdom Learning Center)

#ควายปลัก

#ทะเลน้อย

#มรดกโลก

#คณะวิทยาศาสตร์

#มหาวิทยาลัยทักษิณ

#การเลี้ยงควายปลักxวิทยาศาสตร์

#ภูมิปัญญาท้องถิ่น